การพัฒนาสูตรโจ๊กข้าวไรซ์เบอร์รี่กึ่งสำเร็จรูปเสริมโปรตีนไข่ขาว | |
กชกร กันหาเรียง, ทิพวรรณ ทองสุข, ศศิวิมล จิตรากร, สุดารัตน์ เจียมยั่งยืน | 1-15 |
การขยายพันธุ์ต้นฟิโลเดรนดรอนพิงค์ปริ้นเซส (Philodendron erubescens) โดยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ | |
ณัฏฐิยา เกื้อทาน, วรุณยุพา จุ้ดศรี | 16-21 |
ผลของการเตรียมความพร้อมเมล็ดพันธ์มะเขือเทศด้วย Bacillus subtilis ต่อความงอกของเมล็ดและการรอดชีวิตของต้นกล้าในโรงเรือนที่เคยมีการระบาดของโรคเหี่ยวเขียว | |
ปัทมาวดี คุณวัลลี, เทวี มณีรัตน์, กนกวัน ปลอดจินดา | 22-28 |
การใช้ประโยชน์จากหญ้าเนเปียร์และเศษผักสดในรูปน้ำหมักชีวภาพ:ปริมาณแบคทีเรียทั้งหมดและค่าความเป็นกรดด่าง | |
กฤตเมธ ตะนัยศรี, กรรณิกา อัมพุช | 36-42 |
การใช้ประโยชน์ของเหลือจากกระบวนการผลิตหนอนมอดรำข้าวสาลี Tenebrio molitor L. (Coleoptera: Tenebrionidae) สู่ความเป็นไปได้ในการผลิตดอกดาวเรืองอินทรีย์ | |
เทวี มณีรัตน์, ปัทมาวดี คุณวัลลี | 29-35 |
แอนโทไซยานินและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของไวน์สีชมพูที่ผลิตจากดอกไม้ท้องถิ่นและมะเกี๋ยง | |
เกียรติศักดิ์ ทำสะอาด, เกวลิน วาริน, นักสิทธิ์ ปัญโญใหญ่ | 1-11 |
ผลของหัวเชื้อชนิดน้ำเห็ดตับเต่าต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพริกขี้หนูลูกผสมพันธุ์ุ์ยอดสน | |
กิติภูมิ สุขนางรอง, คมกฤษณ์ แสงเงิน | 12-22 |
ผลของเอนโดไฟติกแบคทีเรียต่อการเจริญเติบโตของต้นห้อม | |
ณัฐพร จันทร์ฉาย, อัญศญา บุญประจวบ, รัฐพงศ์ เดชพรม | 23-33 |
คุณภาพสีและปริมาณเนื้อครามของพืชกลุ่มที่ให้สีครามในจังหวัดแพร่ | |
ณัฐพร จันทร์ฉาย, พนัชพงษ์พรรณ ทะเกิงกุล, อัญศญา บุญประจวบ, ณัฐนรี นาระกันทา | 34-41 |
การคัดเลือกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สายพันธุ์อินเบรดผลผลิตสูงและทนแล้งด้วยดัชนีการคัดเลือกของสมิธ | |
ชัยวัฒน์ นันทโชติ, ปริญญา กาญสมเจตน์, ทัศนีย์ บุตรทอง, สุริพัฒน์ ไทยเทศ | 42-50 |
ผลการเสริมยีสต์ที่มีต่อคุณภาพของหญ้าเนเปียร์หมักร่วมกับหญ้ารูซี่ | |
ธนากรณ์ ปราณีตพลกรัง, แพรวพรรณ ชูช่วย, กรรณิกา อัมพุช | 1-7 |
ผลของการใช้เจลบุกทดแทนไขมันต่อเนื้อสัมผัส คุณลักษณะทางประสาทสัมผัส ของลูกชิ้นอกไก่ในระหว่างการเก็บรักษานาน 7 วัน | |
ศิริพร นามเทศ, เกศรินทร์ ขำอุปถัมภ์, เจษฎา ศักดี | 8-15 |
การวิเคราะห์โอกาสการยกระดับฟาร์มโคนมทั่วไปเป็นฟาร์มโคนมอินทรีย์ ในอำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี | |
วิณากร ที่รัก, จีรวัฒน์ แพงแสน | 16-24 |
สถานภาพการผลิตกระบือของเกษตรกรผู้เลี้ยงกระบือแปลงใหญ่
ในอำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก
| |
ประภาศิริ ใจผ่อง, พัทธนันท์ โกธรรม, อนวัทย์ ผาลี, กล บัววังโปร่ง, สุภาวดี แหยมคง | 25-31 |
การผลิตปลาร้ามอญสับอัดก้อนกึ่งสำเร็จรูปจากปลาร้ามอญภูมิปัญญา ของชาวมอญ บ้านศาลาแดงเหนือ อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี | |
นันท์ปภัทร์ ทองคำ, วัฒนี บุญวิทยา, ภาสุรี ฤทธิเลิศ, หรรษา เวียงวะลัย, อัณนภา สุขลิ้ม, นิศารัตน์ ตามสมัคร, ปริชาต โคตะมะ | 32-41 |
วารสารเกษตรและอาหาร มรวอ. (VRU Agricultural and Food Journal) ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นวารสารที่เผยแพร่บทความวิจัย และบทความวิชาการ มีกำหนดเผยแพร่ปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน และฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม
รายการตรวจสอบก่อนการส่งบทความวิจัย
การส่งต้นฉบับ
ขั้นตอนการตรวจแก้ไขและการตอบรับการตีพิมพ์
สำเนาต้นฉบับ
คณะที่ปรึกษา | ||
ศ.ดร.สายัณห์ ทัดศรี | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | |
ศ.ดร.ชัยภูมิ บัญชาศักดิ์ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | |
รศ.ดร.ธานี ศรีวงศ์ชัย | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | |
รศ.ดร.สุดารัตน์ เจียมยั่งยืน | มหาวิทยาลัยนเรศวร | |
รศ.ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ | มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ | |
ผศ.ดร.ณัฎฐ พิชกรรม | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | |
บรรณาธิการ | ||
ผศ.ดร.กรรณิกา อัมพุช | มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ | |
รองบรรณาธิการ | ||
ผศ.ดร.อัณนภา สุขลิ้ม | มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ | |
ผศ.ดร.ศิริพร นามเทศ | มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ | |
อ.ดร.ธนกร วังสว่าง | มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ | |
อ.ศิริวิมล ศรีมีทรัพย์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ | |
อ.วรุณยุพา จุ้ดศรี | มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ | |
กองบรรณาธิการจัดเตรียมต้นฉบับ | ||
นายสัมพันธ์ อ่ำสุรา | มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ |
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 1 หมู่ที่ 20 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 13180
02-5293002 ต่อ 10, 12
วารสารนี้มีการตรวจสอบคุณภาพของบทความ โดยผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบบทความ (peer reviewer) ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกจากหลากหลายสถาบัน อย่างน้อย 3 คน และทางวารสารยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะรับต้นฉบับของทุกท่าน เพื่อประกอบการพิจารณา ตีพิมพ์บทความโดยไม่มีค่าใช้จ่าย
A1 : | ส่งเอกสารสองไฟล์ ได้แก่ 1. ไฟล์ต้นฉบับในรูปไฟล์ .docx หรือ .doc และ 2. เอกสารนำส่ง ซึ่งสามารถดาวน์โหลดได้ที่ website http://afj.vru.ac.th |
A2 : | ปัจจุบัน (ปี 2565) ยังไม่ได้เข้าสู่ฐานข้อมูล เช่น TCI เนื่องจากเป็นวารสารใหม่ แต่ทั้งนี้ได้วางมาตรฐาน และคุณภาพของวารสารตามเกณฑ์ของ TCI เพื่อเตรียมเข้าสู่ฐานเร็วๆ นี้ |
A3 : | มีผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน จากหน่วยงานและสถาบันที่แตกต่างกัน และเป็นแบบ double blind เพื่อให้บทความที่ถูกตีพิมพ์มีคุณภาพมากที่สุด |
A4 : | ปีละ 2 ฉบับ คือ 1 มิถุนายน และ 1 ธันวาคม โดยเผยแพร่ทางเวบไซต์วารสารเป็นหลัก |
A5 : | กระบวนการในการดำเนินการทั้งจากกองบรรณาธิการ และนักวิจัยประมาณ 45 วันต่อเรื่อง และมีหนังสือตอบรับการตีพิมพ์ทุกเรื่อง |